|
|
|
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำไร่
ทำนา ปลูกผัก |
|
|
|
|
|
ตำบลขุนฝาง มีลักษณะเป็นภูเขาสลับกับที่ราบเชิงเขา หมู่ที่ 5 และ หมู่ที่ 6 มีภูเขาล้อมรอบเป็นลักษณะแอ่งกระทะ และมีที่ราบเชิงเขาเหมาะแก่การเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ |
|
|
|
|
|
|
|
ตำบลขุนฝางตั้งอยู่ในเขตร้อน มีสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล ดังนี้ |
|
ฤดูร้อน |
เริ่มตั้งแต่ปลายเดือน ก.พ. - กลางเดือน พ.ค. |
|
ฤดูฝน |
เริ่มตั้งแต่ประมาณปลายเดือน พ.ค. - กลางเดือน ต.ค. |
|
ฤดูหนาว |
เริ่มต้นปลายเดือน ต.ค. – กลางเดือน ก.พ. |
|
|
|
|
|
|
ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ |
มีวัด จำนวน 3 แห่ง |
|
วัดป่าพุทธวิโมกข์ |
|
วัดเหลาป่าสา |
|
วัดขุนฝาง |
|
|
|
 |
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม |
|
 |
 |
|
|
|
|
ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ ประมาณเดือนมกราคม |
|
ประเพณีวันสงกรานต์ (รดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ) ประมาณเดือนเมษายน |
|
ประเพณีวันลอยกระทง ประมาณเดือนพฤศจิกายน |
|
ประเพณีวันเข้าพรรษา วันออกพรรษา ประมาณเดือนกรกฎาคม ตุลาคม |
|
|
|
|
|
|
|
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลขุนฝาง |
|
โรงเรียนสังกัด สพฐ. ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบล |
|
|
โรงเรียนบ้านเหล่าป่าสา |
|
|
โรงเรียนบ้านขุนฝาง |
|
|
|
|
|
|
|
โรงพยาบาลในเขตพื้นที่ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 1 แห่ง |
|
คลินิกเอกชน จำนวน 2 แห่ง |
|
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
|
|